โซ่อุปทานอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะของประเทศไทยกับการลดการปลดปล่อย U-POPs

รายละเอียดโครงการ

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้ดำเนินโครงการ Greening the Scrap Metal Value Chain through Promotion of BAT/BEP to Reduce U-POPs Releases from Recycling Facilities ร่วมกับ องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (UNIDO) โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) เพื่อส่งเสริมและแนะนำ “แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด” (BAT/BEP) มาใช้ในอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะตลอดทั้งโซ่อุปทานเพื่อลดการปลดปล่อยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อย โดยไม่จงใจ (U-POPs) และได้มอบหมายให้สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูลในประเด็นต่างๆ จากทุกภาคส่วน

ข้อมูลที่ได้รับจากการสำรวจนี้ได้รับการประมวลผล วิเคราะห์ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลนี้ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่มีวัตถุประสงค์นำมาใช้อ้างอิง ในการกำหนดนโยบายในการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ข้อมูลโดยรวมของการสำรวจครั้งนี้

จำนวนผู้ประกอบการที่ร่วมตอบแบบสอบถาม แบ่งตามประเภทกิจการ

ข้อมูลผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ในการสำรวจครั้งนี้

ข้อมูลผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ในการสำรวจครั้งนี้

กรุณาเลือกประเภทธุรกิจ แล้วใส่คำสำคัญ (ไม่จำเป็นต้องครบ)

ประเภทกิจการ:

ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ ทั้งหมด 119 แห่ง

โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ทั้งหมด 35 แห่ง

โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ ทั้งหมด 14 แห่ง

ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ ทั้งหมด 86 แห่ง

หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO ทั้งหมด 15 แห่ง


ชื่อผู้ประกอบการ:

อำเภอ:
จังหวัด:

บทสรุปและผลวิเคราะห์ของการสำรวจครั้งที่ 1

ความเข้าใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) และ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (BAT/BEP)

อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยมุ่งแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องใด
อุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะเกี่ยวข้องอย่างไรภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
สารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) ใดบ้างในอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะที่อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายในการลดปริมาณการปลดปล่อย
สารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร
ท่านคิดว่า BAT (Best Available Techniques) หรือ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs คือ
ท่านคิดว่า BEP (Best Environmental Practices) หรือแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs

ความเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะ

ท่านคาดหวังสิ่งใดมากที่สุด หากต้องนำ BAT/BEP มาใช้ในธุรกิจของท่าน
ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะส่งผลกระทบด้านใดต่อสิ่งแวดล้อม
ท่านคิดเห็นอย่างไรต่อการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
ท่านคิดว่าสถานการณ์/ตลาดเศษโลหะในประเทศไทยเป็นอย่างไร
หากท่านจำเป็นต้องลงทุนด้านอุปกรณ์หรือเพิ่มบุคลากรเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ท่านต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลืออย่างไร
ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหรือภาคประชาชนจะมีส่วนในการจัดการเศษโลหะภายในประเทศให้มีความยั่งยืนได้อย่างไร
ท่านคิดว่าวิธีการใดน่าจะช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะได้ดีที่สุด

ระบบบำบัดอากาศที่ผู้ประกอบการใช้


มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง


การจัดการเศษโลหะ


การเตรียมวัตถุดิบ


การจัดการของเสีย

บทสรุปและผลวิเคราะห์ของการสำรวจครั้งนี้

ระดับของอุปสรรค / ภาระ (สเกล 1-6 [1 = อุปสรรคน้อย 6 อุปสรรคมาก])


1. การลงทุนเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า และประหยัดพลังงาน

ค่าเฉลี่ยระดับของอุปสรรค / ภาระ

จำนวนคำตอบ
  • ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ
  • โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ
  • โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
  • ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ
  • หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO

2. ต้นทุนและการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อช่วยลดการปลดปล่อยสารมลพิษตกค้างยาวนาน หรือเพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป

ค่าเฉลี่ยระดับของอุปสรรค / ภาระ

จำนวนคำตอบ
  • ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ
  • โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ
  • โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
  • ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ
  • หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO


3. การรักษาค่าการปลดปล่อยสารมลพิษตกค้างยาวนานให้อยู่ในระดับมาตรฐาน

ค่าเฉลี่ยระดับของอุปสรรค / ภาระ

จำนวนคำตอบ
  • ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ
  • โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ
  • โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
  • ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ
  • หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO

4. มูลค่าการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต และ/หรือ ต้นทุนของเทคโนโลยี เมื่อเทียบกับกำลังการผลิต

ค่าเฉลี่ยระดับของอุปสรรค / ภาระ

จำนวนคำตอบ
  • ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ
  • โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ
  • โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
  • ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ
  • หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO


5. ความเต็มใจในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของลูกค้าของท่าน

ค่าเฉลี่ยระดับของอุปสรรค / ภาระ

จำนวนคำตอบ
  • ผู้รับซื้อของเก่าและเศษโลหะ
  • โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ
  • โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
  • ผู้ใช้ ผู้จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ก่อให้เกิดเศษโลหะ
  • หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ องค์กร NGO


ความเข้าใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) และ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (BAT/BEP)

1. อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยมุ่งแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องใด

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ

2. อุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะเกี่ยวข้องอย่างไรภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ

3. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) ใดบ้างในอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะที่อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายในการลดปริมาณการปลดปล่อย

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ

4. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ

5. ท่านคิดว่า BAT (Best Available Techniques) หรือ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs คือ

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ

6. ท่านคิดว่า BEP (Best Environmental Practices) หรือแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs

จากคำตอบทั้งหมด คำตอบ


ความเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะ

1. ท่านคาดหวังสิ่งใดมากที่สุด หากต้องนำ BAT/BEP มาใช้ในธุรกิจของท่าน
2. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะส่งผลกระทบด้านใดต่อสิ่งแวดล้อม
3. ท่านคิดเห็นอย่างไรต่อการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
4. ท่านคิดว่าสถานการณ์/ตลาดเศษโลหะในประเทศไทยเป็นอย่างไร
5. หากท่านจำเป็นต้องลงทุนด้านอุปกรณ์หรือเพิ่มบุคลากรเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ท่านต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลืออย่างไร
6. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหรือภาคประชาชนจะมีส่วนในการจัดการเศษโลหะภายในประเทศให้มีความยั่งยืนได้อย่างไร
7. ท่านคิดว่าวิธีการใดน่าจะช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะได้ดีที่สุด

ระบบบำบัดอากาศที่ผู้ประกอบการใช้


มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง


การจัดการเศษโลหะ


การเตรียมวัตถุดิบ


การจัดการของเสีย

จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม

ความเข้าใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) และ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (BAT/BEP)

1. อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยมุ่งแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องใด
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

2. อุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะเกี่ยวข้องอย่างไรภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

3. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) ใดบ้างในอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะที่อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายในการลดปริมาณการปลดปล่อย
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

4. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

5. ท่านคิดว่า BAT (Best Available Techniques) หรือ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs คือ
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

6. ท่านคิดว่า BEP (Best Environmental Practices) หรือแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs
การสำรวจครั้งที่ 1
การสำรวจครั้งที่ 2
ผลเปรียบเทียบ

ความเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะ

1. ท่านคาดหวังสิ่งใดมากที่สุด หากต้องนำ BAT/BEP มาใช้ในธุรกิจของท่าน
การสำรวจครั้งที่ 1
2. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะส่งผลกระทบด้านใดต่อสิ่งแวดล้อม
การสำรวจครั้งที่ 1
3. ท่านคิดเห็นอย่างไรต่อการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
การสำรวจครั้งที่ 1
4. ท่านคิดว่าสถานการณ์/ตลาดเศษโลหะในประเทศไทยเป็นอย่างไร
การสำรวจครั้งที่ 1
5. หากท่านจำเป็นต้องลงทุนด้านอุปกรณ์หรือเพิ่มบุคลากรเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ท่านต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลืออย่างไร
การสำรวจครั้งที่ 1
6. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหรือภาคประชาชนจะมีส่วนในการจัดการเศษโลหะภายในประเทศให้มีความยั่งยืนได้อย่างไร
การสำรวจครั้งที่ 1
7. ท่านคิดว่าวิธีการใดน่าจะช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะได้ดีที่สุด
การสำรวจครั้งที่ 1

มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

การสำรวจครั้งที่ 1

จำนวนคำตอบ

มีรั้วรอบ หลังคา พื้นคอนกรีต ที่ร้อยละ
ปลูกต้นไม้ พื้นที่สีเขียว ที่ร้อยละ
ไม่ตั้งใกล้แหล่งน้ำ ที่ร้อยละ

การสำรวจครั้งที่ 2

จำนวนคำตอบ

มีรั้วรอบ หลังคา พื้นคอนกรีต ที่ร้อยละ
ปลูกต้นไม้ พื้นที่สีเขียว ที่ร้อยละ
ไม่ตั้งใกล้แหล่งน้ำ ที่ร้อยละ

ระบบบำบัดอากาศที่ผู้ประกอบการใช้

การสำรวจครั้งที่ 1

จำนวนคำตอบ

ถุงกรอง ที่ร้อยละ
ฮูดดูดฝุ่น ที่ร้อยละ
ไซโคลน ที่ร้อยละ

การสำรวจครั้งที่ 2

จำนวนคำตอบ

ถุงกรอง ที่ร้อยละ
ฮูดดูดฝุ่น ที่ร้อยละ
ไซโคลน ที่ร้อยละ

การจัดการเศษโลหะ (โดยผู้ประกอบการประเภทผู้ซื้อของเก่าและซื้อขายเศษโลหะ)

การสำรวจครั้งที่ 1

ขายต่อทันที โดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ

การสำรวจครั้งที่ 2

ขายต่อทันที โดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ

การเตรียมวัตถุดิบ (โดยผู้ประกอบการประเภทโรงหลอม หล่อ รีด โลหะ)

การสำรวจครั้งที่ 1

คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
อุ่นโลหะ ที่ร้อยละ

การสำรวจครั้งที่ 2

คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ

การจัดการของเสีย

การสำรวจครั้งที่ 1

ใช้ผู้รับบริการกำจัดกากของเสีย ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัดก้อน ที่ร้อยละ

การสำรวจครั้งที่ 2

ใช้ผู้รับบริการกำจัดกากของเสีย ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัดก้อน ที่ร้อยละ

ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการประเภท ผู้รับซื้อเศษโลหะ

จากผู้ตอบแบบที่ระบุปริมาณโลหะที่รับซื้อ 84 แบบสอบถาม

  • เป็นธุรกิจขนาด S จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด M จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด L จำนวน แห่ง

S หมายถึง ผู้ประกอบการที่รับซื้อเศษโลหะชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด (เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว) รวมแล้วไม่เกิน 1,000 กิโลกรัม ต่อเดือน
M หมายถึง ผู้ประกอบการที่รับซื้อเศษโลหะชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด (เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว) รวมแล้วตั้งแต่ 1,000 - 10,000 กิโลกรัม ต่อเดือน
L หมายถึง ผู้ประกอบการที่รับซื้อเศษโลหะชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด (เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว) รวมแล้วมากกว่า 10,000 กิโลกรัม ขึ้นไป


ผู้รับซื้อเศษโลหะได้รับเศษโลหะจาก

  • ซาเล้ง จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เจ้าใหญ่กว่าแบ่งมา จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • รับซื้อตามบ้าน/โรงงาน จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • บ่อขยะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เซียงกง จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • แหล่งอื่นๆ ได้แก่
    • ลูกค้าร้านขายของเก่า , รับซื้อทั่วไป , ชาวบ้าน , โรงเรียน , รับซื้อหน้าร้าน , รับซื้อที่ไซต์งาน , รถขยะ , ชาวบ้านมาขาย , ลูกค้าขาจร , ลูกค้าทั่วไป , รับซื้อทั่วไป , รับซื้อของเก่า รับรื้อถอน รับซื้อขายเครื่องจักร ,

ผู้รับซื้อเศษโลหะมีกรรมวิธีการผลิต

  • ชำแหละ จำนวน แห่ง
  • คัดแยก ทั่วไป/ทุกประเภท (โลหะ/พลาสติก/ขวดแก้ว) จำนวน แห่ง
  • คัดแยกเฉพาะโลหะ จำนวน แห่ง
  • บด จำนวน แห่ง
  • อัดก้อน จำนวน แห่ง
  • คัดแยกเฉพาะโลหะ จำนวน แห่ง
  • แหล่งอื่นๆ ได้แก่


ผู้รับซื้อเศษโลหะขายเศษโลหะให้กับ

  • ผู้คัดแยกรายใหญ่ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้คัดแยกโลหะโดยเฉพาะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • โรงหลอม จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เอเย่น จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • อื่นๆ ได้แก่
    • ซื้อมาขายไป , รับซื้อทั่วไป , ส่งออก , ซ่อมบำรุง-ขายต่อ , รายย่อย , ศูนย์คัดแยกขยะ อบจ.ระยอง ,

กฎหมายหรือข้อบังคับที่ผู้ประกอบการประเภท ผู้รับซื้อเศษโลหะ ปฏิบัติตามและเกี่ยวข้อง

แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขายทอดตลาด 2474 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม กฎหมายควบคุมสถานประกอบการสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2545 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ผังเมือง 2538 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 / 2560 / 2562 แสดงผลเป็นร้อยละ

มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการประเภท ผู้รับซื้อเศษโลหะปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 118 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่มีมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมด้วยการ
  • ไม่ตั้งใกล้แหล่งน้ำ มี 52 แห่ง
  • มีรั้วรอบ หลังคา พื้นคอนกรีต มี 73 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางอากาศ มี 23 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางเสียง มี 14 แห่ง
  • มีระบบบำบัดน้ำเสีย มี 12 แห่ง
  • ประหยัดพลังงาน มี 8 แห่ง
  • ปลูกต้นไม้ พื้นที่สีเขียว มี 43 แห่ง
  • กำจัดขยะ/กากฯที่ถูกต้อง มี 27 แห่ง

การจัดการเศษโลหะที่ผู้ประกอบการประเภท ผู้รับซื้อเศษโลหะปฏิบัติ

เศษเหล็ก

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษอะลูมิเนียม

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษทองแดง

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษสังกะสี

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษตะกั่ว

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษสเตนเลส

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

เศษทองเหลือง

ขายต่อทันทีโดยแทบไม่มีการจัดการใดเพิ่ม ที่ร้อยละ
คัดแยกขนาด/ประเภท ที่ร้อยละ
อัด/บดย่อย/แปรรูป ที่ร้อยละ
ดึง/ลอก/ปอก/กรอง/แยกวัสดุอื่นที่ติดมาด้วย ที่ร้อยละ
ทำความสะอาด / ปรับปรุงคุณภาพโดยไม่ใช้สารเคมี ที่ร้อยละ
ใช้สารหรือน้ำยาเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ ที่ร้อยละ

ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการประเภท ผู้รับซื้อเศษโลหะ

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ ประเภทและปริมาณโลหะที่รับซื้อ จำนวน แบบสอบถาม
ผู้ประกอบการที่รับซื้อ
  • เศษเหล็ก มีจำนวน 112 ราย รวมเป็นปริมาณ กิโลกรัม
  • เศษอะลูมิเนียม มีจำนวน 102 ราย รวมเป็นปริมาณ กิโลกรัม
  • เศษทองแดง มีจำนวน 105 ราย รวมเป็นปริมาณ กิโลกรัม
  • เศษสังกะสี มีจำนวน 93 ราย รวมเป็นปริมาณ กิโลกรัม
  • เศษตะกั่ว มีจำนวน 76 ราย รวมเป็นปริมาณ กิโลกรัม

ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ

จากผู้ตอบแบบที่ระบุกำลังการผลิต 22 แบบสอบถาม

  • เป็นธุรกิจขนาด S จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด M จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด L จำนวน แห่ง

S หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วไม่เกิน 10,000 ตัน ต่อเดือน
M หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วระหว่าง 10,001 - 100,000 ตัน ต่อเดือน
L หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วมากกว่า 100,001 ตัน ต่อเดือน


โรงหลอม โรงหล่อ และโรงรีดได้รับโลหะวัตถุดิบจาก

  • ซาเล้ง จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เซียงกง จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เอเย่นผู้ค้าเศษโลหะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้คัดแยกเศษโลหะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้นำเข้าเศษโลหะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • แหล่งอื่นๆ ได้แก่
    • สั่งซื้อวัตถุดิบจากบริษัทคู่ค้า , นำเข้าโดยตรงจากโรงถลุงในต่างประเทศ ,

โรงหลอม โรงหล่อ และโรงรีดมีกรรมวิธีการผลิต

  • คัดแยกเศษโลหะ จำนวน แห่ง
  • หลอม จำนวน แห่ง
  • หล่อให้เป็นแท่ง เป็นก้อน เป็นรูปทรงพื้นฐาน จำนวน แห่ง
  • ขึ้นรูปโลหะตามความต้องการลูกค้า จำนวน แห่ง
  • กรรมวิธีการผลิตอื่น ๆ ได้แก่


โรงหลอม โรงหล่อ และโรงรีดขายผลิตภัณฑ์ให้กับ

  • โรงหล่อขึ้นรูปโลหะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้ผลิตสินค้าที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • เอเย่นผู้ค้าโลหะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • อื่น ๆ ได้แก่
    • ผู้รับเหมาก่อสร้าง , ผู้รับเหมาก่อสร้าง , ส่งออก , อุปกรณ์ประปา , อุปกรณ์ประปา , โรงงานบัดกรี , ผู้รับกำจัดที่มีใบอนุญาต , ส่งโรงงานประกอบรถยนต์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ,

กฎหมายหรือข้อบังคับที่ผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขายทอดตลาด 2474 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม กฎหมายควบคุมสถานประกอบการสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2545 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ผังเมือง 2538 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 / 2560 / 2562 แสดงผลเป็นร้อยละ

มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 35 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่มีมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมด้วยการ
  • ไม่ตั้งใกล้แหล่งน้ำ มี20 แห่ง
  • มีรั้วรอบ หลังคา พื้นคอนกรีต มี 33 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางอากาศ มี 38 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางเสียง มี 30 แห่ง
  • มีระบบบำบัดน้ำเสีย มี 29 แห่ง
  • ประหยัดพลังงาน มี 23 แห่ง
  • ปลูกต้นไม้ พื้นที่สีเขียว มี 35 แห่ง
  • กำจัดขยะ/กากฯที่ถูกต้อง มี 37 แห่ง

มาตรการตามแนวทาง BAT/BEP ที่ผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

มาตรการที่ผู้ประกอบการนำมาปฏิบัติในกระบวนการผลิตแล้ว


มาตรการที่ผู้ประกอบการมีแผนจะนำมาปฏิบัติในกระบวนการผลิต


มาตรการที่ผู้ประกอบการมิได้ปฏิบัติ


มาตรการ BAT/BEP ที่ 1

มาตรการ BAT/BEP ที่ 2

มาตรการ BAT/BEP ที่ 3

มาตรการ BAT/BEP ที่ 4

มาตรการ BAT/BEP ที่ 5

มาตรการ BAT/BEP ที่ 6

มาตรการ BAT/BEP ที่ 7

มาตรการ BAT/BEP ที่ 8

มาตรการ BAT/BEP ที่ 9

มาตรการ BAT/BEP ที่ 10

มาตรการ BAT/BEP ที่ 11

มาตรการ BAT/BEP ที่ 12

มาตรการ BAT/BEP ที่ 13

มาตรการ BAT/BEP ที่ 14

มาตรการ BAT/BEP ที่ 15

มาตรการ BAT/BEP ที่ 16

มาตรการ BAT/BEP ที่ 17

มาตรการ BAT/BEP ที่ 18

มาตรการ BAT/BEP ที่ 19

มาตรการ BAT/BEP ที่ 20

มาตรการ BAT/BEP ที่ 21

ข้อมูลกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ

กระบวนการเตรียมวัตถุดิบ


Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 42

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 46

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 50

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 54

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 58

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 62

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PreTreatQuery.php on line 66
มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ การเตรียมวัตถุดิบ จำนวน 35 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่เตรียมวัตถุดิบด้วยการ
  • คัดแยกขนาด/ประเภท มี แห่ง
  • อุ่นโลหะ มี แห่ง
  • อัด/บดย่อย/แปรรูป มี แห่ง
  • ดึง/ลอก/ปอก วัสดุอื่นที่ติดมาด้วย มี แห่ง
  • ทำความสะอาด ไม่ใช้สารเคมี มี แห่ง
  • ใช้สารเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ มี แห่ง

กระบวนการจัดการของเสีย


Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 44

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 48

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 52

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 56

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 60

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 64

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 68

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 72

Warning: mysqli_fetch_assoc() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/secondary/secondary-PostTreatQuery.php on line 76
มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ การจัดการของเสีย จำนวน 35 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่จัดการของเสียด้วยการ
  • คัดแยกขนาด/ประเภท มี แห่ง
  • อัดก้อน มี แห่ง
  • แยกน้ำมัน มี แห่ง
  • รีไซเคิลสารหล่อเย็น มี แห่ง
  • บด/ย่อย มี แห่ง
  • ใช้ผู้รับบริการกำจัดกากของเสีย มี แห่ง
  • ฝังกลบตะกรัน/เปลือกสนิม มี แห่ง
  • ผสมเพื่อทำวัสดุอื่น มี แห่ง

ระบบระบายอากาศในกระบวนการผลิตที่ผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ใช้งาน

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ ระบบบำบัดอากาศ จำนวน 35 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่ใช้ระบบบำบัดอากาศแบบ
  • ถุงกรอง มี 30 แห่ง
  • ฮูดดูดฝุ่น มี 12 แห่ง
  • สครับเบอร์ มี 7 แห่ง
  • สครับเบอร์แบบเปียก มี 10 แห่ง
  • ไซโคลน มี 13 แห่ง
  • เครื่องดักฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตย์ มี 1 แห่ง
  • ห้องเผาควัน มี 3 แห่ง

ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการประเภท โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ

รูปแบบผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ ที่ผู้ประกอบการ โรงหลอม หล่อ และรีดโลหะ ผลิต

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ ประเภทผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ จำนวน 35 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่ผลิตผลิตภัณฑ์ประเภท
  • มี 7 แห่ง
  • มี 1 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 4 แห่ง
  • มี 4 แห่ง
  • มี 3 แห่ง
  • มี 1 แห่ง

ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์

จากผู้ตอบแบบที่ระบุกำลังการผลิต 2 แบบสอบถาม

  • เป็นธุรกิจขนาด S จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด M จำนวน แห่ง
  • เป็นธุรกิจขนาด L จำนวน แห่ง

S หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วไม่เกิน 10,000 ตัน ต่อเดือน
M หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วระหว่าง 10,001 - 100,000 ตัน ต่อเดือน
L หมายถึง ผู้ประกอบการที่มีกำลังการผลิตรวมแล้วมากกว่า 100,001 ตัน ต่อเดือน


โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ได้รับโลหะวัตถุดิบจาก

  • โรงหลอม โรงหล่อ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้นำเข้าทั่วไป จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้จัดหาโลหะภายในประเทศ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้นำเข้าโลหะโดยเฉพาะ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • แหล่งอื่นๆ ได้แก่
    • ฝ่ายผลิต ,

โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์มีกรรมวิธีการผลิต

  • หลอม จำนวน แห่ง
  • ขึ้นรูปโลหะเพื่อเป็นส่วนประกอบของสายการผลิต จำนวน แห่ง
  • ขึ้นรูปโลหะตามความต้องการลูกค้า จำนวน แห่ง
  • แหล่งอื่นๆ ได้แก่


โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ขายผลิตภัณฑ์ให้กับ

  • โรงงานอื่นๆ จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้จำหน่ายส่ง จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ผู้จำหน่ายปลีก จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • ส่งออก จำนวน แห่ง คิดเป็นร้อยละ
  • อื่นๆ ได้แก่
    • ผู้รับกำจัด (บ.อังประภาสตีล จก.) , ร้านขายเศษเหล็ก ร้านรับซื้อของเก่า ,

กฎหมายหรือข้อบังคับที่ผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ ปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขายทอดตลาด 2474 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม กฎหมายควบคุมสถานประกอบการสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2545 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ผังเมือง 2538 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย 2535 แสดงผลเป็นร้อยละ
แผนภูมิแสดงอัตราการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 / 2560 / 2562 แสดงผลเป็นร้อยละ

มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ ปฏิบัติตามหรือเกี่ยวข้อง

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 14 แบบสอบถาม

จำนวนผู้ประกอบการที่มีมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมด้วยการ
  • ไม่ตั้งใกล้แหล่งน้ำ มีจำนวน 3 แห่ง
  • มีรั้วรอบ หลังคา พื้นคอนกรีต มีจำนวน 6 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางอากาศ มีจำนวน 3 แห่ง
  • ควบคุมมลพิษทางเสียง มีจำนวน 3 แห่ง
  • มีระบบบำบัดน้ำเสีย มีจำนวน 3 แห่ง
  • ประหยัดพลังงาน มีจำนวน 3 แห่ง
  • ปลูกต้นไม้ พื้นที่สีเขียว มีจำนวน 3 แห่ง
  • กำจัดขยะ/กากฯที่ถูกต้อง มีจำนวน 6 แห่ง
มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ : ใช้อุปกรณ์ลดเสียงที่ตัวบุคคล

ข้อมูลกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์

กระบวนการเตรียมวัตถุดิบ

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ การเตรียมวัตถุดิบ จำนวน 8 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่เตรียมวัตถุดิบด้วยการ
  • คัดแยกขนาด/ประเภท มี 4 แห่ง
  • อุ่นโลหะ มี 0 แห่ง
  • อัด/บดย่อย/แปรรูป มี 1 แห่ง
  • ดึง/ลอก/ปอก วัสดุอื่นที่ติดมาด้วย มี 2 แห่ง
  • ทำความสะอาด ไม่ใช้สารเคมี มี 1 แห่ง
  • ใช้สารเคมีในการปรับปรุงคุณภาพ มี 0 แห่ง

กระบวนการจัดการของเสีย

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ การจัดการของเสีย จำนวน 15 แบบสอบถาม
จำนวนผู้ประกอบการที่จัดการของเสียด้วยการ
  • คัดแยกขนาด/ประเภท มี 0 แห่ง
  • อัดก้อน มี 2 แห่ง
  • แยกน้ำมัน มี 0 แห่ง
  • รีไซเคิลสารหล่อเย็น มี 0 แห่ง
  • บด/ย่อย มี 0 แห่ง
  • ใช้ผู้รับบริการกำจัดกากของเสีย มี 4 แห่ง
  • ฝังกลบตะกรัน/เปลือกสนิม มี 5 แห่ง
  • ผสมเพื่อทำวัสดุอื่น มี 1 แห่ง

ระบบระบายอากาศในกระบวนการผลิตที่ผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ ใช้งาน

มีผู้ตอบแบบตอบคำถามเกี่ยวกับ ระบบบำบัดอากาศ จำนวน 6 แบบสอบถาม

จำนวนผู้ประกอบการที่ใช้ระบบบำบัดอากาศด้วย
  • ถุงกรอง เพื่อบำบัดอากาศ มี 1 แห่ง
  • ฮูดดูดฝุ่น เพื่อบำบัดอากาศ มี 4 แห่ง
  • สครับเบอร์ เพื่อบำบัดอากาศ มี 1 แห่ง
  • สครับเบอร์แบบเปียก เพื่อบำบัดอากาศ มี 0 แห่ง
  • ไซโคลน เพื่อบำบัดอากาศ มี 0 แห่ง
  • เครื่องดักฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตย์ เพื่อบำบัดอากาศ มี 0 แห่ง
  • ห้องเผาควัน มี 0 แห่ง
ระบบบำบัดอากาศอื่น ๆ 1 ได้แก่ :
  • เครื่องดูดควัน
  • เครื่องดูดควัน
  • ควบคุมอัตรการระบายและคุณภาพเชื้อเพลิงหรือปริมาณสารไม่ให้เกินค่ามาตรฐาน

ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการประเภท โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์


Warning: mysqli_query(): Empty query in /var/www/html/downstream/downstream-productQuery.php on line 83

Warning: mysqli_fetch_array() expects parameter 1 to be mysqli_result, bool given in /var/www/html/downstream/downstream-productQuery.php on line 84
ประเภทผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ที่ผู้ประกอบการ โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ ผลิต/แปรรูปได้ จากการสำรวจทั้งหมด 14 แห่ง
จำนวนผู้ประกอบการที่ผลิต
  • มี 1 แห่ง
  • มี 3 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 3 แห่ง
  • มี 2 แห่ง
  • มี 0 แห่ง

จากการสำรวจครั้งนี้ ผู้ประกอบการประเภท ผู้จำหน่ายและใช้โลหะ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ ดังนี้

ประเภทผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ที่ผู้ประกอบการ โรงงานที่ใช้โลหะเป็นส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ จำหน่าย จากการสำรวจทั้งหมด 14 แห่ง
จำนวนผู้ประกอบการที่จำหน่าย
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง
  • มี 0 แห่ง

Warning: include(sellerProductGraph.php): failed to open stream: No such file or directory in /var/www/html/seller/seller-product.php on line 10

Warning: include(): Failed opening 'sellerProductGraph.php' for inclusion (include_path='.:/usr/local/lib/php') in /var/www/html/seller/seller-product.php on line 10

ความเห็นของท่านเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะ

1. ท่านคาดหวังสิ่งใดมากที่สุด หากต้องนำ BAT/BEP มาใช้ในธุรกิจของท่าน
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • สร้างภาพลักษณ์ที่ดี จำนวน58 ครั้ง
  • ช่วยลดต้นทุนการผลิต จำนวน 95 ครั้ง
  • ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ/ลดการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 56 ครั้ง
  • ช่วยลดการใช้พลังงาน จำนวน 151 ครั้ง
  • ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม จำนวน 85 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : เพิ่มรายได้
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ต้องศึกษาข้อมูลก่อน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : สร้างนิสัยการจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทบทวนองค์ความรู้ให้เหมาะสมกับสถานการ์ณปัจจุบัน


2. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะส่งผลกระทบด้านใดต่อสิ่งแวดล้อม
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • ทำลายชั้นโอโซน มี 58 ครั้ง
  • ปัญหากากอุตสาหกรรมขยะปนเปื้อน มี 95 ครั้ง
  • มลพิษทางน้ำ มี 56 ครั้ง
  • มลพิษทางอากาศ มี 151 ครั้ง
  • โลกร้อน/สภาพอากาศเปลี่ยน มี 85 ครั้ง
  • ไม่มีผลกระทบ มี 13 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : ถ้าหากมีระบบจัดการที่ดี ผลเสียน่าจะน้อยกว่าผลดี


3. ท่านคิดเห็นอย่างไรต่อการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • เห็นด้วยมากที่สุด จำนวน 108 ครั้ง
  • เห็นด้วย แต่ต้องไม่เป็นภาระด้านค่าใช้จ่ายมากเกินไป จำนวน 126 ครั้ง
  • ไม่เห็นด้วย แต่เข้าใจเหตุผลและเป้าหมาย จำนวน 11 ครั้ง
  • ไม่เห็นด้วย ผู้ประกอบการสามารถจัดการได้เอง จำนวน 10 ครั้ง
  • ไม่เห็นด้วยเลย จำนวน 2 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : เห็นด้วย แต่ต้องมีการสนับสนุนความรู้และเงินทุนจากภาครัฐ
ความคิดเห็นอื่น ๆ : แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ


4. ท่านคิดว่าสถานการณ์/ตลาดเศษโลหะในประเทศไทยเป็นอย่างไร
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • ขาดแคลน ต้องนำเข้า จำนวน 59 ครั้ง
  • เหลือเฟือ มีส่งออก จำนวน 25 ครั้ง
  • นำเข้าบ้าง ส่งออกบ้าง จำนวน 108 ครั้ง
  • พอดีพอใช้ ไม่นำเข้า ไม่ส่งออก จำนวน 43 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : เน้นหมุนเวียนก่อนดีกว่า
ความคิดเห็นอื่น ๆ : เหลือเฟือ แต่นำเข้า
ความคิดเห็นอื่น ๆ : เศรษฐกิจแย่ ขาดสภาพคล่องอย่างมาก
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ราคาสูง
ความคิดเห็นอื่น ๆ : -
ความคิดเห็นอื่น ๆ : -


5. หากท่านจำเป็นต้องลงทุนด้านอุปกรณ์หรือเพิ่มบุคลากรเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ท่านต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลืออย่างไร
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • ยกเว้น หรือ ลดอัตราภาษี จำนวน 151 ครั้ง
  • เงินอุดหนุน จำนวน 97 ครั้ง
  • ยกเลิกกฎหมายหรือข้อบังคับที่เป็นอุปสรรคต่อธุรกิจ จำนวน 58 ครั้ง
  • เงินกู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำมาก จำนวน 54 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : ยกเว้นภาษีโรงเรือน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ลดภาษีโรงเรือน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ปัญหารับซื้อของโจร
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ไม่ควรให้ต่างชาติ เช่น คนจีนเข้ามาทำธุรกิจรชนี้ เพราะมักไม่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
ความคิดเห็นอื่น ๆ : สามารถนำค่าใช้จ่านส่วนนี้ไปลดหย่อนหรือขอคืนภาษี
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ควรมีการบังคับใช้อย่างจริงจังและควรมีบทลงโทษถ้าไม่ทำตามกฎหมาย เช่น ถูกพักใบอนุญาตโรงงาน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ความรู้และเทคโนโลยี


6. ท่านคิดว่าอุตสาหกรรมหรือภาคประชาชนจะมีส่วนในการจัดการเศษโลหะภายในประเทศให้มีความยั่งยืนได้อย่างไร
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • การคัดแยกขยะ จำนวน 178 ครั้ง
  • มีกระบวนการจัดการเศษโลหะที่ดี จำนวน 116 ครั้ง
  • ใช้เทคโนโลยีในการหลอมเศษโลหะที่ทันสมัย จำนวน 96 ครั้ง
  • ส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้เรื่องการรีไซเคิล จำนวน 113 ครั้ง



7. ท่านคิดว่าวิธีการใดน่าจะช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะได้ดีที่สุด
จำนวนผู้ประกอบการที่ตอบ
  • เปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่ จำนวน 93 ครั้ง
  • ใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบเดิม แต่เพิ่มอุปกรณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 67 ครั้ง
  • ใช้วิธีบริหารจัดการแบบใหม่ ทำให้การผลิตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จำนวน 104 ครั้ง
  • ปรับปรุงอาคารสถานที่ในการผลิตและจัดเก็บวัตถุดิบให้เหมาะสม จำนวน 38 ครั้ง
  • ปลูกฝังความรู้และจิตสำนึกให้ประชาชน จำนวน 123 ครั้ง
  • ภาครัฐควรเข้มงวดมากยิ่งขึ้น จำนวน 56 ครั้ง

ความคิดเห็นอื่น ๆ : รัฐให้การสนับสนุน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : แก้กฎหมายที่ซับซ้อน
ความคิดเห็นอื่น ๆ : เพิ่มเทคโนโลยีการควบคุมด้านสิ่งแวดล้อม
ความคิดเห็นอื่น ๆ : ภาครัฐให้การสนับสนุนและไม่ผลักภาระให้ประชาชน

ความเข้าใจของผู้ประกอบการเกี่ยวกับอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) และ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (BAT/BEP)

1. อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยมุ่งแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องใด

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 162 ครั้ง
  • โลกร้อน/สภาพอากาศเปลี่ยน จำนวน 22 ครั้ง
  • การจัดการกากอุตสาหกรรม จำนวน 12 ครั้ง
  • สารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน จำนวน 58 ครั้ง
  • ฝุ่นละออง PM 2.5 จำนวน 9 ครั้ง

2. อุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะเกี่ยวข้องอย่างไรภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 167 ครั้ง
  • การหลอมโลหะก่อให้เกิดไดออกซินและฟิวแรน จำนวน 66 ครั้ง
  • การกำจัดไขมันในเศษโลหะต้องใช้สารมลพิษประเภทที่ตกค้างยาวนาน จำนวน 5 ครั้ง
  • การบดย่อยเศษโลหะก่อให้เกิดฝุ่นละออง PM 2.5 จำนวน 13 ครั้ง
  • การขนส่งกากอุตสาหกรรมจากโรงหลอมทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน จำนวน 5 ครั้ง
  • ประเทศไทยไม่มีแหล่งแร่โลหะ ทำให้ต้องพึ่งพาต่างประเทศ จำนวน 1 ครั้ง

3. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนานประเภทปลดปล่อยโดยไม่จงใจ (U-POPs) ใดบ้างในอุตสาหกรรมหลอมเศษโลหะที่อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ มีเป้าหมายในการลดปริมาณการปลดปล่อย

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 182 ครั้ง
  • PCB จำนวน 7 ครั้ง
  • ไดออกซิน/ฟิวแรน จำนวน 57 ครั้ง
  • สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เช่น ดีดีที, อัลดริน, ฯลฯ จำนวน 10 ครั้ง

4. สารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 73 ครั้ง
  • ผื่นตามตัว ปวดแสบ ปวดร้อน และจะมีการระคายเคือง จำนวน 43 ครั้ง
  • เป็นอันตรายต่อระบบประสาทส่วนกลาง (สมองและไขสันหลัง) ทำให้เสียการควบคุมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว จำนวน 17 ครั้ง
  • อาเจียน ชัก เบื่ออาหาร ซึมเศร้า ปวดท้อง จำนวน 15 ครั้ง
  • เป็นสารที่ก่อมะเร็ง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และ เป็นพิษต่อระบบการสืบพันธุ์ จำนวน 91 ครั้ง
  • ระคายเคืองต่อจมูก คอ และระบบหายใจ คอแห้ง ไอ จำนวน 48 ครั้ง

5. ท่านคิดว่า BAT (Best Available Techniques) หรือ แนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs คือ

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 132 ครั้ง
  • การที่โรงงานมีระบบควบคุมมลพิษ เช่น ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกรองอากาศ จำนวน 31 ครั้ง
  • การเลือกใช้เครื่องจักรหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย จำนวน 28 ครั้ง
  • การเลือกใช้ ทำความสะอาด หรือเตรียมวัตถุดิบ ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต จำนวน 33 ครั้ง
  • การควบคุมกระบวนการผลิต ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด มีจำนวน 26 ครั้ง

6. ท่านคิดว่า BEP (Best Environmental Practices) หรือแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ในการลด U-POPs

มีการตอบ
  • ไม่ทราบ/ไม่เคยได้ยิน จำนวน 125 ครั้ง
  • การบำรุงรักษาที่สม่ำเสมอ จำนวน 17 ครั้ง
  • การใช้เชื้อเพลิงที่เหมาะสม จำนวน 4 ครั้ง
  • การจัดการเศษโลหะก่อนผลิตที่เหมาะสม จำนวน 39 ครั้ง
  • การฝึกอบรมคนงานให้รู้จักเทคโนโลยีและวิธีการใหม่ๆ จำนวน 24 ครั้ง
  • การวิเคราะห์กระบวนการเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ จำนวน 46 ครั้ง

ระดับของอุปสรรค / ภาระ (สเกล 1-6 [1 = อุปสรรคน้อย 6 อุปสรรคมาก])

1. การลงทุนเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า และประหยัดพลังงาน


2. ต้นทุนและการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อช่วยลดการปลดปล่อยสารมลพิษตกค้างยาวนาน หรือเพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป


3. การรักษาค่าการปลดปล่อยสารมลพิษตกค้างยาวนานให้อยู่ในระดับมาตรฐาน


4. มูลค่าการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต และ/หรือ ต้นทุนของเทคโนโลยี เมื่อเทียบกับกำลังการผลิต


5. ความเต็มใจในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของลูกค้าของท่าน